วันจันทร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2551

สรุปบทที่ 7

ระบบสนันสนุนการตัดสินใจ

การจัดการกับการตัดสินใจ
การจัดการ Management คือ การบริหารอย่างเป็นระบบประกอบด้วยกิจกรรม
ของกลุ่มบุคคลดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การจัดการภายในองค์การ โดนทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ
1. การจัดการระดับสูง ผู้บริหารระดับสูง กำหนดวิสัยทัศน์นโยบาย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ วางแผนกลยุทธ์ขององค์กร
2. การจัดการระดับกลาง ผู้บริหารระดับกลาง มีหน้าที่วางแผนยุทธวิธีและประสานงานระหว่างผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารระดับต้น
เพื่อให้การดำเนินงานไปอย่างราบรื่น
3. การจัดการระดับต้น ผู้บริหารระดับต้นหรือหัวหน้างาน มีหน้าที่ควบคุม ดูแลการปฏิบัติงานประจำวัน

การตัดสินใจ

1. การให้ความคิดประกอบเหตุผล รับรู้และตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น วิเคราะห์และตรวจสอบเพื่อแยกแยะและกำหนดรายละเอียด
ของปัญหา
2. การแกแบบ การพัฒนาแบะวิเคราะห์ทางเลือก ประเมินทางเลือกในการแก้ปัญหา ออกแบบหนทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุด
3. การคัดเลือก ตัดสินใจจะเลือกที่เหมาะสมกับปัญหามากที่สุด
4. การนำไปใช้ ปฏิบัติและติดตามผลของการปฏิบัติเพื่อตรวจสอบว่าการดำเนินงานมีประสิทธิภาพหรือมีข้อขัดข้องประการใด
5. การตรวจสอบประสิทธิภาพของการตัดสินใจ ตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นหลังจากการตัดสินใจว่าเป็นอย่างไร หากมีความผิดพลาด
สามารถเข้าสู่กระบวนการตัดสินใจใหม่

ระดับของการตัดสินใจภายในองค์การ

1. การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงมีการเปลี่ยนแปลงหรือมีความไม่แน่นอนและไม่สามรุกำหนดขั้น
ตอนการตัดสินใจที่ชัดเจนไวล่วงหน้าได้ เกี่ยวข้องกับปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง
2. การตัดสินใจเชิงยุทธิวิธี เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลางเกี่ยวข้องกับปัญหาแบบกึ่งโครงสร้าง
3. การตัดสินใจเชิงปฏิบัติการ เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับล่างเกี่ยวข้องกับปัญหาแบบมีโครงสร้าง

ประเภทของการตัดสินใจ

1. การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง ปัญหาที่มีขั้นตอนหรือกระบวนการใจการแก้ปัญหาที่แน่ชัด
2. การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง ปัญหาที่ไม่สามารถกำหนดกระบวนการตัดสินใจได้ล่วงหน้า
3. การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง ปัญหาที่สามารถระบุกระบวนการหรือวิธีการตัดสินใจได้ล่วงหน้าในบางส่วน

ระบบสนันสนุนการตัดสินใจ DSS คือระบบโต้ตอบที่ใช้คอมพิวเตอร์โดยอาศัยความรู้ในระบบต่างๆ ระบบได้รับการออกแบบใช้งานง่ายและสะดวก มีความยืดหยุ่นและสามารถรับรองการเปลี่ยนแปลวข้อมูลได้ โดยระบบจะไม่ทำการตัดสินใจแทนผู้บริหาร แต่จะรวบรวมข้อมูลและแบบจำลองที่สำคัญเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจผู้บริหารในปัญหากึ่งโครงสร้างและไม่มีโครวสร้าง ระบบ DSSประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3 ส่วน คือ ส่วนจัดการข้อมูล ส่วนจัดการตัวแบบ และส่วยจัดการโต้ตอบโดยที่ระบบ DSS ขั้นสูงจะมี่ส่วนจัดการการองค์ความรู้เป็นอีกส่วนประกอบหนี่ง

ระบบ DSS แตกต่างจากระบบ TPS และระบบ MIS โดยระบบ TPS มีการจัดการข้อมูลสำหรับงานปนะจำวัน มีกระบวนการใช้ระบบที่สอดคล้องกับขั้นตอนปฎิบัติงานและกฎเกณฑ์การมำงานที่ชัดเจนสำหรับระบบ MIS จะให้สารสนเทศเพื่อการควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานและสรุปผลงานการดำเนินงานและช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในปัญหาทีแบบโครงสร้างได้

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจกลุ่มหรือ GDSS เป็นระบบแบบโต้ตอบที่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อสนัยสนุนการตัดสินใจร่วมกันของกลุ่มบุคคล สมาชิกในกล่มไม่จำเป็นต้องอยู่ที่เดียวกัน ระบบ GDSS ต้องอาศัยเทคโนโลยีด้านการสื่อสารเพื่อเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ของสมาชิกเข้ากันเพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร และความคิดเห็นภายในกล่มได้

วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2551

สรุปบทที่ 6 บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ

สรุปบทที่ 6 บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
องค์การและสิ่งแวดล้อม
องค์การความหมายทางเทคนิค คือ โครงสร้างทางสังคมอย่างเป็นทางการที่มีความมั่นคง เน้นองค์ประกองขององค์การ 3 ส่วน คือ ปัจจัยหลักด้านการผลิตกระบวนการผลิต และผลผลิต
องค์การความหมายเชิงพฤติกรรมจะใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากกว่า เป็นที่รวมของสิทธิ เอกสิทธิ์ ภาระหน้าที่ และความรับผิดชอบ
ความหมายขององค์การทั้งสอบมุมมองจะสนับสนุนซึ่งกันและกัน โดยความหมายทางด้านเทคนิคช่วยอธายแนวทางที่องค์การนำนวนมากในตลาดที่มีการแข่งขันกันมีการผสมผสานหรือจัดการเงินทุนแรงงาน และเทคดนโลยีสารสนเทศเข้าด้วยกันอย่างไร ในขณะที่มุมมองเชิงพฤติกรรมจะเป็ฯการมองลึกลงว่าเทคโนโลยีสารสนเทศมีผกระทบต่อการทำงานภายในองค์การอย่างไร
ผลกระทบของระบบสารสนเทศต่อองค์การ
1. ลดระดับขั้นของการจัดการ
2. มีความคล่องตัวในการดำเนินงาน
3. ลดขั้นตอนการดำเนินงาน
4. เปลี่ยนแปลงกระบวนการจัดการ
5. กำหนดขอบเขตการดำเนินงานใหม่
องค์การดิจิทัลและองค์การแบบเครือข่าย
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็นโครงสร้างของระบบสารสนเทศภายในองค์การ ได้รับความนิยมและส่งเสริมการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ในการสร้างช่องทางการตลาด การขาย และให้การสนับสนุนลูกค้า
องค์การเสมือนจริง
1. มีขอบเขตขององค์การไม่ชัดเจน
2. ใช้เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
3. มีความเป็ฯเสิศ
4. มีความไว้วางใจ
5. มีโอกาสทางตลาด
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
แบบออกเป็น 4 ระดับดังนี้
1. ผู้ปฏิบัติงาน Workers เป็นผู้ที่ทำกิจกรรมประจำวัน เช่น พนักงานพิมพ์เอกสาร เจ้าหน้าที่ห้องสมุด พนักงานบัญชี พนักงานประชาสัมพันธ์ และพนักงานเคาน์เตอร์ธนาคาร
2. ผู้ปริหารระดับปฏิบัติการ Operational Managers หัวหน้างาน
3. ผู้ปริหารระดับกลาง Middle Managers เป็นผู้กำกับการบริหารงานของผู้ริหารระดับปฏิบัติการ วางแผนยุทธวิธีเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย เช่น ผู้จัดการ
4. ผู้บริหารระดับสูง Senior Managers เป็นผู้บริหารระดับสูงสุดขององค์การ
ประเภทของระบบสารสนเทศ IS
แบ่งได้ 3 ประเภท
1. ระบบสารสนเทศจำแนกตามประเภทของธุรกิจ
1.1. ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
1.2. ระบบสารสนเทศบริหารโรงแรม
1.3. ระบบสารสนเทศธนาคาร
1.4. ระบบสารสนเทศโรงเรียน
1.5. ระบบสารสนเทศโรงภาพยนตร์
2. ระบบสารสนเทศนำแนกตามหน้าที่ของงาน
2.1. ระบบสารสนเทศการผลิตและสินค้าคงคลัง
2.2. ระบบสารสนเทศทรัพยากรมนุษย์
2.3. ระบบสารสนเทศการตลาด
2.4. ระบบสารสนเทศบัญชี
2.5. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
2.6. ระบบสารสนเทศการเงิน
2.7. ระบบสารสนเทศห้องสมุด
3. ระบบสารสนเทศนำแนกตามลักษณะการดำเนินงาน
3.1. ปัญญาประดิษฐ์ AI และระบบผู้เชี่ยวชาญ ES
3.2. ระบบสนับสนุนการตัดสินใน DSS
3.3. ระบบสารสนเทศสำนักงาน OIS
3.4. ระบบประมวลผลธุรกรรม TPS
3.5. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS
3.6. ระบสารสนเทศสำหรับผู้ปริหาร EIS
ระบบสารสนเทศที่อิงคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 6 ประเภทดังนี้
1. ระบบสารสนเทศประมวลผลธุรกรรม TPS
1.1. การประมวลผลแบบกลุ่ม
1.2. การประมวลผลแบบทันที
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS
2.1. รางงานที่จัดทำตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2. รายงานสรุป
2.3. รายงานที่จัดทำตามเงื่อนไขเฉพาะ
2.4. รายงานที่จัดทำตามต้องการ
3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ DSS
4. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง EIS
5. ปัญญาประดัษฐ์ AI และระบบผู้เชี่ยวชาญ ES
6. ระบบสารสนเทศสำนักงาน OIS หรือระบบสำนักงานอัตโนมัติ OAS

กรณีศึกษา, คำถามบทที่ 6

กรณีศึกษา ระบบประมวลผลภาพใบสั่งของกรมการขนส่งในกรุงนิวยอร์ก
1.ระบบประมวลผลภาพมีผลต่อการกระบวนการออกใบสั่งเรียกค่าปรับในการฝ่ฝืนกฏจราจรของกรมการขนส่งอย่างไร
- ใช้เวลาเร็วขึ้น
- ลดความผิดพลาดจากการพิมพ์ของพนักงาน
- ลดงบประมาณ
- คุณภาพในการทำงานดีขึ้น
2.ระบบประมวลผลภาพเป็นระบบสารสนเทศประเภทใด มีลักษณะอย่างไร
- ระบบสารสนเทศสำนักงาน OIS หรือระบบสำนักงานอัตโนมัติ OAS

.......................********.......................

คำถามบทที่ 6
1. ระบบสารสนเทศมีผลกระทบต่อกระบวนการทำงานโครงสร้างขององค์การอย่างไร
- ลดระดับขั้นของการจัดการ
- มีความคล่องตัวในการดำเนินงาน
- ลดขั้นตอนการดำเนินงาน
- เปลี่ยนแปลงกระบวนการจัดการ
- กำหนดขอบเขตการดำเนินงานใหม่
2. องค์การเสมือนจริงมีลักษณะอย่างไร และมีข้อดีอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับองค์การโดยทั่วไป
- มีขอบเขตขององค์การไม่ชัดเจน
- ใช้เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
- มีความเป็ฯเสิศ
- มีความไว้วางใจ
- มีโอกาสทางตลาด
3. ระบสารสนเทศสนักงาน OIS แตกต่างจากระบบสารสนเทศการประมวลผลธุรกรรม TPS อย่างไร
ระบสารสนเทศสนักงาน OIS เป็นระบบสานสนเทศที่นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน ส่วนระบบสารสนเทศการประมวลผลธุรกรรม TPS เป็นระบบสารสนเทศเพื่อการประมวลผลที่รวดเร็ว ลดค่าใช้จ่าย และปรับปรุงการให้บริการ ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลที่เกิดจากการทำธุรกรรมและการปฏิบัติงานเป็นประจำ
4. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างระบบ TPS, OIS, MIS, DSS, EIS
โดยปกติแล้ว TPS จะเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐานให้กัลระบบสารสนเทศอื่นๆในขณะที่ EIS จะเป็นระบบที่รับข้อมูลจากระบบสารสนเทศในระดับที่ต่ำกว่า ระบบสารสนเทศและละประเภทอาจมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลภายในระบบย่อยๆ กันเอง

คำถามบทที่ ๖

คำถามบทที่ ๖
๑. ระบบสารสนเทศมีผลกระทบต่อกระบวนการทำงานและโครงสร้างขององค์การอย่างไรบ้าง
- ระบบสารสนเทศมีผลกระทบคือ ลดลำดับขั้นของการจัดการ เทคโนโลยีช่วยในการตัดสินใจและการประสานงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น และยังมีความคล่องตัวในการดำเนินงาน เทคโนโลยีช่วยในการยืดหยุ่นและสามารถสนองต่อความต้องการที่หลากหลายของผู้บริโภคได้ง่ายขึ้น และช่วยลดขั้นตอนในการดำเนินงาน มีการนำระบบ EDI มาใช้ มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการจัดการ โดยสามารถให้ข้อมูลรานละเอียดเกี่ยวกับการทำงานของระบบต่างๆในองค์การได้ตลอดเวลา ข้อสุดท้ายคือการกำหนดเขตการดำเนินงานใหม่ ระบบสารสนเทศที่เขื่อมเครือข่ายช่วยให้สามรถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างองค์การได้ ทำให้บริษัทสามารถเข้าดูข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันกับลูกค้าได้

๒. องค์การเสมือนจริงมีลักษณะอย่างไร และมีข้อดีอย่างไรเมือเปรียบเทียบกับองค์การโดยทั่วไป
องค์การเสมือนจริง มีลักษณะดังนี้ คือ
- มีขอบเขตขององค์การไม่ชัดเจน เนื่องจากองค์การอาจจะกระจายอยู่ต่างสถานที่กัน ทำให้ยากต่อการกำหนดขอบเขตุพื้นที่
- ใช่เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ใช้การเชื่อมโยงอิเล็กทรอนิกส์เข้าด้วยกันให้สามารถติดต่อสื่อสารและร่วมมือในการสร้างการกระจายสินค้าแก่ลูกค้าได้
- มีความเป็นเลิศ องค์การจะนำความสามรถหลักหรือความเป็นเลิศมาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการตลาด
- มีความไว้วางใจ มีความไว้วางใจกันว่าสามารถรับผิดชอบและทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกำหนดและวัตถุประสงค์ของงาน
- มีโอกาสทางตลาด เช่น การร่วมมือกันขององค์การอิสระเป็นองค์กรเสมือนจริงเพื่อทำโครงการขนาดใหญ่ และจะกระจายตัวเมื่อโครงการเสร็จ
ข้อดีเมื่อเปรียบเทียบกับองค์การทั่วไป คือองค์การเสมือนจริงได้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการแลกเปลี่ยนทักษะ และลดต้นทุน สร้างและกระจายสินค้าบริการโดยไม่มีข้อจำกัดสำหรับที่ตั้งขององค์การ

๓. ระบบสารสนเทศสามารถถูกจัดเป็นประเภทใดบ้าง อธิบายและยกตัวอย่างสารสนเทศในแต่ละประเภท
ระบบสารสนเทศจัดเป็น ๓ ประเภทได้แก่
- ระบบสารสนเทศจำแนกตามประเภทของธุรกิจ โดยทั่วไปจะเป็นระบบสารสนเทศขนาดใหญ่ ที่ประกอบด้วยระบบสารสนเทศที่จำแนกตามหน้าที่ย่อยๆหลายระบบ ตัวอย่างเช่น ระบบสารสนเทศบริหารโรงแรม จะประกอบโดยระบบสารสนเทศย่อย ได้แก่ ระบบสำรองห้องพัก ระบบบัญชี ระบบจัดการห้องพักเป็นต้น
- ระบบสารสนเทศจำแนกตามหน้าที่ของงาน คือแต่ละระบบสามารถประกอบด้วยระบบสารสนเทศย่อยๆที่มีกิจการของงานหลัก ตัวอย่างเช่น ระบบสารสนเทศจัดการทรัพยากรมนุษย์ อาจประกอบด้วยระบบย่อยๆได้แก่ ระบบจัดการข้อมูลพนักงาน ระบบสรรหาและคัดเลือก ระบบฝึกอบรม ระบบประเมินผล และระบบสวัสดิการเป็นต้น
- ระบบสารสนเทศจำแนกตามลักษณะดำเนินงาน ผู้บริหารองค์กรที่แต่ต่างกัน มีความต้องการสารสนเทศที่แตกต่างกัน ดังนั้นระบบสารสนเทศจึงถูกออกแบบมาให้มีความสอดคล้องกับลักษณะของงานเพื่อใช้ในการตัดสินใจ ยกตัวอย่างเช่นการซื้อสินค้าในร้านค้าปลีก การฝากหรือถอนเงินธนาคาร การสำรองห้องพักโรงแรม การจองตั๋วเครื่องบินเป็นต้น

๔. ระบบสารสนเทศสำนักงาน แต่งต่างจากระบบสารสนเทศการประมวลผลธุรกรรมอย่างไร
- ระบบสารสนเทศการประมวลผลธุรกรรม นำมาใช้เพื่อทำการประมวลผลที่รวดเร็วลดค่าใช้จ่าย และปรับปรุงการให้บริการลูกค้า ระบบสารสนเทศการประมวลผลธุรกรรมทำหน้าที่บันทึกข้อมูลและทำการประมวลผล ส่วนระบบสารสนเทศสำนักงาน นำมาช่วยในการจัดทำเอกสาร รายงาน จดหมายธุรกิจการส่งข้อความ การบันทึกตารางนัดหมายและการค้นหาข้อมูลจากเว็บเพจ

๕.อธิบายความสำพันธ์ระหว่างระบบ TPS OIS MIS DSS EIS
- โดยปกติ TPS จะเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐานให้กับสารสนเทศอื่นๆ ในขณะที่ EIS
จะเป็นระบบที่รับข้อมูลจากระบบสารสนเทศที่ต่ำกว่า นอกจากนี้ระบบสารสนเทศแต่ละประเภทอาจมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลภายในระบบย่อยกันเอง เช่นระบบสารสนเทศฝ่ายขายกับระบบสารสนเทศฝ่ายผลิต และระบบสารสนเทศฝ่ายจัดส่งสินค้า เป็นต้น อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติ การผสมผสานระหว่างสารสนเทศประเภทต่างๆในองค์การยังมีข้อจำกัด

สรุปบทที่ ๕

สรุปบทที่ ๕

อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ในโลก มีจุดเริ่มต้นมาจากโครงการอาร์พาเน็ตที่อยู่ในความควบคุมของอาร์พา ซึ่งเป็นหน่วยงานย่อยในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา โดยสนับสนุนทุนให้แก่มหาลัยและบริษัทเอกชนเพื่อทำวิจัยและพัฒนาการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย ๔ แห่งเข้ากัน และต่อมาภายหลังได้มีการพัฒนาและแลกเปลี่ยนไปใช้เครือข่ายที่ใหญ่ขึ้น เรียกว่าเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่ใช้ในปัจจุบัน
สำหรับอินเทอร์เน็ตในปรเทศไทยเริ่มต้นจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และสถาบันเทคโน,ยีแห่งเอเชียได้ติดต่อขอใช้บริการ e-mall กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น โดยใช้สายโทรศัพท์ในการเชื่อมโยง ต่อมาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดตั้งเครือข่ายยูยูเน็ต และมีอีกหลาสถาบันการศึกษษเข้ามาขอเชื่อมต่อกับเครือข่าย และเรียกว่าข่ายไทยเน็ต
วิธีที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้อีกมี ๒ วิธี คือ เชื่อมต่อโดยตรงกับหน่วยงานที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต มีข้อดีคือเป็นการเชื่อมต่อแบบตลอดเวลาและมีความเร็วสูงในการส่งข้อมูล ส่วนข้อเสียคือค่าใช้จ่ายสูง ส่วนอีกวิธีคือ การเชื่อมต่อผ่านโทรศัพท์ และโมเด็ม ซึ่งมีข้อดีคือเสียค่าใช้จ่ายต่ำกว่าวิธีแรก และข้อเสียคือส่งข้อมูลช้ากว่าต่อตรงนั้นเอง ในปัจจุบันจะมีกิจกรรมที่มีผู้ใช้ บริการบนอินเทอร์เน็ตอย่างหลากหลาย เช่น การติดต่อสื่อสารแบบ e-mail การค้าขายสินค้าอินเทอร์เน็ต การศึกษาและการค้นหาข้อมูล การติดตามข่าวสารต่างๆ การค้นหางานตลอดจนการสมัครงานผ่านเว็บไซต์และกิจกรรมด้านการบันเทิงอื่นๆ ซึ่งกิจกรรมที่ได้กล่าวมาข้างต้นมักจะอยู่ในรูปแบบของเว็บเพจ ซึ่งหมายถึงเอกสารในรูปแบบสื่อประสมต่างๆ ที่ใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูล ผู้ใช้ที่ต้องการเข้าไปใช้บริการได้ต้องใช้โปรแกรมเว็บเบราเซอร์ทุกครั้งโดยต้องระบุ URL ของเว็บ ไซต์ให้ถูกต้อง
บริการต่างๆที่อยู่ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีหลายชนิด เช่น บริการรับ-ส่ง e-mail สนทนาออนไลน์ เทลเน็ต การขนถ่ายไฟล์รวมถึงการทำธุรกรรมทุกรูปแบบผ่านอินเทอร์เน็ตหรือที่เรียกว่า พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีจำแนกได้ ๕ รูปแบบ คือแบบธุรกิจกับลูกค้า แบบธุรกิจกับภาครัฐ แบบลูกค้ากับลูกค้า และแบบภาครัฐกับประชาชน สาเหตุที่มีการใช้บริการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มากขึ้นในปัจจุบันเนื่องมาจากมีความสำคัญหลายประการ เช่น เป็นการทำธุรกิจการค้าแบบไร้พรมแดน ซึ่งไม่มีข้อจำกัดในด้านเวลา และสถานที่


...............................*****..................................


คำถามบทที่ 5
1. Instant Messaging (IM) คืออะไร สามารถสนับสนุนกระบวนการดำเนินธุรกิจได้อย่างไรบ้างและช่วยลดค้าใช้จ่ายโทรศัพท์ได้อย่างไร
การสนทนาบนอินเทอร์เน็ตคือ การส่งข้อความถึงกันโดยทันทีทันใด นอกจากนี้ยังสามารถส่งสัญลักษณ์ต่างๆ อาทิ รูปภาพ ไฟล์ข้อมูลได้ด้วย
2. E-comerec แต่งต่างจาก E-business อย่างไร
E-comerec เป็นการซื้อขาย การค้า การแลกเปลี่ยนทาง Internet
ส่วน E-business มีความหมายกว้างกว่าเป็นการดำเนินกิจการทางธุรกรรม ทุกขั้นตอนโดยผ่าน Internetทั้งหมด มีการส่ง EDI
3. จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างการทำธุรกิจ
1) B2B มุ่งเน้นให้บริการกับลูกค้าที่เป็นองค์การธุรกิจด้วยกัน เช่น ผู้ผลิต-ผู้ผลิต การชำระเงินส่วนใหญ่จะผ่านธนาคาร
2) B2C ผู้ขายที่เป็นองค์การธุรกิจกับผู้ซื้อหรือลูกค้า แต่ละคนอาจเป็นการค้าปลีกแบบเหมาโหล สินค้าที่จำหน่าย เช่น หนังสือ ของเล่น นิยมการจองตั๋วเครื่องบิน
3) B2G ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างธุรกิจเอกชน กับภาครัฐ เช่น การประมูลออนไลน์ และการจัดซื้อ จัดจ้าง
4) C2C เป็นการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างผู้บริโภคด้วยกัน เช่นการประมูลสินค้า
5) ภาครัฐกับเอกชน GTC กิจกรรมที่เกิดขึ้นผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทนี้ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อการค้า แต่เน้นให้การบริการ กับประชาชนโดยผ่านอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การคำนวณและชำระภาษีออนไลน์ ของกรรมสรรพากร
4. จงยกตัวอย่างที่ทำให้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ประสบความสำเร็จและล้มเหลว
ประสบผลสำเร็จ
1. ข้อมูลข่าวสารที่ลงแต่ละครั้งทันสมัย
2. เว็บไซต์ของร้านค้าต้องมีการออกแบบให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า
3. มีการบริการหลังการขาย
4. ลูกค้าสามารถปรับเปลี่ยนรายการสินค้าและปริมาณที่สั่งได้
5. มีการชำระที่สะดวก ลูกค้าสามารถเลือกชำระเงินขึ้นอยู่กับความสะดวกขอกลูกค้า
ล้มเหลว
1. ข้อมูลที่ลงไม่ตรงตามความต้องการของลูกค้า
2. มีการจัดการกับการชำระเงินที่ไม่มีประสิทธิภาพ
3. ไม่มีการบริการหลังการขาย
4. ไม่มีการพัฒนารูปแบบเว็บให้น่าสนใจ
5. อินเทอร์เน็ตส่งผลต่อความสำพันธ์ระหว่างผู้ผลิตหรือซัพพลายเออร์
- ทำให้ผู้ผลิตมีความสะดวกสบายมากขึ้น และมีความทันสมัย สามารถนำพาองค์กรประสบผลสำเร็จ มีรูปแบบใหม่ที่สามารถนำสินค้าของตัวเองเข้าไปสู่ตลาดโดยไม่ทำให้เสียเวลามาก
6. อินเตอร์เน็ตมีประโยชน์ ต่อการบริหารลูกค้าอย่างไรบ้าง
- เป็นการที่ชื้อสินค้า และบริการที่ไม่จำกัดเฉพาะรูปแบบเดิมๆ ที่ผู้ซื้อจะต้องเดินไปจำหน่าย แต่ปัจจุบัน การซื้อสินค้ามีทางเลือกอื่นมากขึ้น สามาร๔คัดเลือก และมีการเปรียบเทียบราค้าสินค้าได้จากทุกมุมโลก